PP&P Excellence
                จำนวน 18 ตัวชี้วัด
                ผ่าน 12 (ร้อยละ 66.67%)

             Service Excellence
                จำนวน 34 ตัวชี้วัด
                ผ่าน 23 (ร้อยละ 67.65%)

             People Excellence
                จำนวน 4 ตัวชี้วัด
                ผ่าน 1 (ร้อยละ 25.00%)

             Governance Excellence
                จำนวน 14 ตัวชี้วัด
                ผ่าน 6 (ร้อยละ 42.86%)

 

ยุทธศาสตร์ที่ 1 PP&P Excellence

KPI 1 อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน KPI 2 เด็กไทยมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย KPI 3 เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 100
KPI 4 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน KPI 5 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี KPI 6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan
KPI 7 ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ได้รับการดูแลทั้งในสถานบริการและในชุมชน KPI 8 ร้อยละของโรงพยาบาล ขนาด M2 ขึ้นไป ที่มีการจัดตั้งคลินิกผู้สูงอายุ KPI 9 ครอบครัวมีความรอบรู้ด้านสุขภาพ
KPI 10 ร้อยละของอ่าเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ KPI 11 ระดับความส่าเร็จในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหน่วยงานระดับจังหวัด KPI 12 ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง
KPI 13 จ่านวนจังหวัดที่มีการขับเคลื่อนมาตรการลดโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมตามกฎหมายและปัญหาส่าคัญในพื้นที่ KPI 14 ร้อยละของชุมชนผ่านเกณฑ์การด่าเนินงาน “ชุมชนวิถีใหม่ ห่างไกล NCDs” KPI 15 ทุกจังหวัดสามารถควบคุมสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้สงบได้ ภายใน 21 - 28 วัน
KPI 16 ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่ก่าหนด KPI 17 สถานประกอบการปรับปรุงผ่านเกณฑ์มาตรฐาน KPI 18 ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital
KPI 19 ร้อยละของจังหวัดมีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก

ยุทธศาสตร์ที่ 2 Service Excellence

KPI 20 จ่านวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. ๒๕๖๒ KPI 21 จ่านวนประชาชนที่มีรายชื่ออยู่ในหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวหรือแพทย์ที่ผ่านการอบรมและคณะผู้ให้บริการสุขภาพปฐมภูมิ KPI 22 ร้อยละของผู้ป่วย กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการดูแลจาก อสม. หมอประจ่าบ้านมีคุณภาพชีวิตที่ดี
KPI 23 ร้อยละต่าบลเป้าหมายผ่านเกณฑ์ต่าบลจัดการคุณภาพชีวิต KPI 24 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และระยะเวลาที่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม KPI 25 อัตราความส่าเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
KPI 26 ระดับความส่าเร็จในการเตรียมพร้อมและตอบโต้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ KPI 27 อัตราป่วยตายของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของทั้งประเทศ KPI 28 ทุกโรงพยาบาลระดับ A และ S ให้บริการตามแนวปฏิบัติการแพทย์วิถีใหม่ในสาขาที่เลือกครบถ้วนตาม Key Step Assessment
KPI 29 ทุกโรงพยาบาลระดับ A และ S มีการจัดท่าแผนและซ้อมแผน BCP for EID KPI 30 ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) KPI 31 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR)
KPI 32 ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตสุขภาพลดลง KPI 33 อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน KPI 34 ร้อยละการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่าง ๆ ด้วย Opioid ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ
KPI 35 ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก KPI 36 ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต KPI 37 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ
KPI 38 อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired KPI 39 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีทีม Refracture Prevention ในโรงพยาบาลตั้งแต่ระดับ M1 ขึ้นไป ที่มีแพทย์ออร์โธปิดิกส์เพิ่มขึ้น ให้ได้อย่างน้อย 1 ทีมต่อ 1 เขตสุขภาพ KPI 40 อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และการให้การรักษาตามมาตรฐานเวลาที่ก่าหนด
KPI 41 ร้อยละผู้ป่วยมะเร็ง 5 อันดับแรก ได้รับการรักษาภายในระยะเวลาที่ก่าหนด KPI 42 ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR < 5 ml/min/1.73m2/yr KPI 43 ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วัน
KPI 44 อัตราส่วนของจ่านวนผู้ยินยอมบริจาคอวัยวะจากผู้ป่วยสมองตาย ต่อจ่านวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S) KPI 45 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดที่เข้าสู่กระบวนการบ่าบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพอย่างต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) KPI 46 การบริบาลฟื้นสภาพระยะกลางแบบ Intermediate ward ในโรงพยาบาลระดับ M และ F
KPI 47 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัด One Day Surgery: ODS KPI 48 ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดนิ่วในถุงน้่าดีหรือถุงน้่าดีอักเสบผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS) KPI 49 ร้อยละของหน่วยบริการสาธารณสุขที่มีการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์แบบบูรณาการ
KPI 50 อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit) น้อยกว่าร้อยละ 12 KPI 51 ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน KPI 52 ร้อยละของโรงพยาบาลศูนย์ผ่านเกณฑ์ ER คุณภาพ
KPI 53 ร้อยละของหน่วยบริการกลุ่มเป้าหมายมีมาตรฐานการบริการสุขภาพนักท่องเที่ยวในพื้นที่เกาะตามที่ก่าหนด KPI 54 อัตราการเพิ่มขึ้นของจ่านวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานการท่องเที่ยว KPI 55 ร้อยละเมืองสมุนไพรผ่านเกณฑ์การประเมิน
KPI 56 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของสถานที่กักกันตัวตามที่รัฐก่าหนด (AHQ/WQ) ได้มาตรฐานตามเกณฑ์การรับชาวต่างชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 People Excellence

KPI 57 ระดับความส่าเร็จของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการระบบการผลิตและพัฒนาก่าลังคนได้ตามเกณฑ์ KPI 58 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการก่าลังคนที่มีประสิทธิภาพ KPI 59 ร้อยละของบุคลากรที่มีความพร้อมรองรับการเข้าสู่ต่าแหน่งที่สูงขึ้น ได้รับการพัฒนา
KPI 60 องค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพและเป็นต้นแบบ

ยุทธศาสตร์ที่ 4 Governance Excellence

KPI 61 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดส่านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA KPI 62 ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA KPI 63 ร้อยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมินการตรวจสอบภายใน การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง
KPI 64 ร้อยละความส่าเร็จของส่วนราชการในสังกัดส่านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ด่าเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่ก่าหนด KPI 65 ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3 KPI 66 ร้อยละของ รพ.สต. ที่ผ่านเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพ รพ.สต. ติดดาว
KPI 67 ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านเกณฑ์คุณภาพข้อมูล KPI 68 ร้อยละของหน่วยบริการที่เป็น Smart Hospital KPI 69 ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบรับยาที่ร้านยา มีการด่าเนินการตามเกณฑ์ที่ก่าหนด
KPI 70 ความแตกต่างอัตราการใช้สิทธิ (compliance rate) เมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยใน (IP) ของผู้มีสิทธิใน 3 ระบบ KPI 71 ระดับความส่าเร็จของการจัดท่าสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ KPI 72 ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน
KPI 73 จ่านวนนวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด KPI 74 ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีนวัตกรรมการจัดการบริการสุขภาพ KPI 75 ระดับความส่าเร็จในการพัฒนากฎหมาย และมีการบังคับใช้
Copyright © 2020
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสิงห์บุรี กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
โทร 0-3681-3493 / 0-3681-3503 โทรสาร 0-3681-3502 E-mail : singmoph@hotmail.com